Chat with us, powered by LiveChat

Our Qualified Lawyers Are Committed to Helping You Solve Your Legal Troubles

สู้คดี.com

การต่อสู้คดีในศาลในฐานะจำเลยมีสิ่งที่ต้องรู้และเตรียมตัวหลายอย่าง เช่น:

1. **สิทธิของจำเลย**: รู้และเข้าใจสิทธิต่างๆ ของคุณ เช่น สิทธิในการมีทนาย สิทธิในการไม่ตอบคำถามที่ทำให้ตนเองถูกลงโทษ ฯลฯ

2. **ข้อกล่าวหา**: ทำความเข้าใจข้อกล่าวหาที่คุณถูกฟ้อง และหาหลักฐานหรือข้อมูลเพื่อทำลายหรือโต้แย้งข้อกล่าวหานั้น

3. **กฎหมายที่เกี่ยวข้อง**: ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับคดีของคุณ เพื่อจะได้รู้ถึงข้อกฎหมายและข้อระเบียบที่มีผลต่อคดี

4. **การเตรียมหลักฐาน**: สะสมและเตรียมหลักฐานที่สนับสนุนความบริสุทธิ์ของคุณ หรือหลักฐานที่ทำลายความน่าเชื่อถือของข้อกล่าวหา

5. **การเตรียมการแถลง**: หากต้องแถลงต่อศาล เตรียมการแถลงที่ชัดเจนและมั่นคง

6. **การทำงานร่วมกับทนาย**: หากมีทนายความ ให้ระมัดระวังในการให้ข้อมูลและปรึกษาทนายทุกขั้นตอน

7. **การรับฟังคำแนะนำ**: เปิดใจรับคำแนะนำจากทนาย ผู้เชี่ยวชาญ และบุคคลที่มีประสบการณ์

8. **การติดตามความคืบหน้า**: ติดตามกำหนดการของศาล เอกสาร และความคืบหน้าของคดีอย่างสม่ำเสมอ

9. **การเตรียมตัวและเตรียมสภาพจิตใจ**: เตรียมตัวทางจิตใจให้พร้อมสำหรับการต่อสู้ทางกฎหมาย อาจต้องใช้เวลาและความอดทนที่มาก

การเตรียมตัวที่ดีและการเข้าใจกระบวนการทางกฎหมายจะช่วยเพิ่มโอกาสในการต่อสู้คดีในศาลของคุณได้มากขึ้น

สู้คดี.com

เตรียมหาทนายไปสู้คดี

รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง

(Put the right man to the right job)

รู้กฎหมาย รู้คำพิพากษาฎีกา รู้จักทนายความ สู้คดีใหนมีชัยไปกว่าครึ่ง

คุณจะสู้คดีอะไร ที่ศาลใหน บอกเรา เราจะส่งทนายความไปให้คำปรึกษาและเป็นทนายความให้คุณ

  (Click) รูปภาพทนายความที่คุณต้องการเพื่อดูข้อมูลทั้งหมดของทนายความ

เวปไซต์นี้มีอะไรให้คุณค้นหาบ้าง

  • เกี่ยวกับเครือข่ายทนายความ
  • รู้กฎหมาย
  • รู้จักทนายความ
  • สู้คดีแพ่ง
  • สู้คดีอาญา
  • สู้คดีชำนัญพิเศษ
  • สู้คดีอาญาทุจริตและประพฤติมิชอบ
  • ประกันตัว
  • อุทธรณ์ - ฎีกา
  • สู้คดีดัวยตนเอง
  • ฟ้องคดี-สู้คดีแบบออนไลน์
  • ติดต่อเรา
 
 
ปรึกษาทนายความคดีของคุณ
 โทร. 081 803 4097


(Choose your language and consult with a lawyer)

                                     เลือกทนายความในจังหวัดที่คุณต้องการได้เลย

[กรุงเทพมหานคร] [กระบี่] [กาญจนบุรี] [กาฬสินธุ์] [กำแพงเพชร] [ขอนแก่น] [จันทบุรี] [ฉะเชิงเทรา] [ชลบุรี] [ชัยนาท] [ชัยภูมิ] [ชุมพร] [เชียงราย] [เชียงใหม่] [ตรัง] [ตราด] [ตาก] [นครนายก] [นครปฐม] [นครพนม] [นครราชสีมา] [นครศรีธรรมราช] [นครสวรรค์] [นนทบุรี] [นราธิวาส] [น่าน] [บึงกาฬ] [บุรีรัมย์] [ปทุมธานี] [ประจวบคีรีขันธ์] [ปราจีนบุรี] [ปัตตานี] [อยุธยา] [พังงา] [พัทลุง] [พิจิตร] [พิษณุโลก]
[เพชรบุรี] [เพชรบูรณ์] [แพร่] [พะเยา] [ภูเก็ต] [มหาสารคาม] [มุกดาหาร] [แม่ฮ่องสอน] [ยะลา] [ยโสธร] [ร้อยเอ็ด] [ระนอง] [ระยอง]
[ราชบุรี] [ลพบุรี] [ลำปาง] [ลำพูน] [เลย] [ศรีสะเกษ] [สกลนคร] [สงขลา
] [สตูล] [สมุทรปราการ] [สมุทรสงคราม] [สมุทรสาคร] [สระแก้ว] [สระบุรี] 
[สิงห์บุรี]  [สุโขทัย] [สุพรรณบุรี] [สุราษฎร์ธานี] [สุรินทร์] [หนองคาย] [หนองบัวลำภู] [อ่างทอง] [อุดรธานี] [อุทัยธานี] [อุตรดิตถ์]
[อุบลราชธานี] [อำนาจเจริญ] 

       (Click) รูปภาพทนายความที่คุณต้องการเพื่อดูข้อมูลทั้งหมดของทนายความ

ทนายความคดีอาญา 

เลือกทนายความที่คุณต้องการปรึกษาและให้เป็นทนายความในคดีของคุณ

[คดีอาญาเป็นคดีที่มีโทษจำคุก ควรเลือกทนายความที่มีประสบการณ์ในการทำคดีของคุณ ปรึกษาทนายความที่คุณพึ่งพอใจแล้วตกลงจ้างให้เป็นทนายความในคดี]

ทนายความคดีแพ่ง 

เลือกทนายความที่คุณต้องการปรึกษาและให้เป็นทนายความในคดีของคุณ

[คดีแพ่งเป็นคดีที่มีทุนทรัพย์สูง แพ้ชนะคดีมีผลต่อทรัพย์สินของคุณ ควรเลือกทนายความที่มีประสบการณ์ในการทำคดีให้คุณ ปรึกษาทนายความที่คุณพึ่งพอใจแล้วตกลงจ้างให้เป็นทนายความในคดี]

ทนายความคดีชำนัญพิเศษ 

เลือกทนายความที่คุณต้องการปรึกษาและให้เป็นทนายความในคดีของคุณ

[คดีชำนัญพิเศษเป็นคดีมีศาลชำนัญพิเศษในการพิจารณาและพิพากษาคดีความ ควรเลือกทนายความที่มีประสบการณ์ในการทำคดีของคุณ ปรึกษาทนายความที่คุณพึ่งพอใจแล้วตกลงจ้างให้เป็นทนายความในคดี]

คดีชำนัญพิเศษ
[คดีครอบครัว] [คดีทรัพย์สินทางปัญญา] [คดีการค้าระหว่างประเทศ] [คดีภาษีอากร] [คดีแรงงาน] [คดีล้มละลาย] 

อุทธรณ์ - ฎีกา

แพ้-ชนะคดี มีผลต่อการอุทธรณ์ - ฎีกา เมื่อคุณชนะคดี ไม่แนะนำให้คุณเปลี่ยนทนายความ แต่ถ้าคุณแพ้คดีแนะนำให้เปลี่ยนทนายความ และอย่าลืมขยายเวลาในการยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาไว้ จากนั้นให้คุณเลือกทนายความใหม่เพื่อยื่นอุทธรณ์-ฎีกาครับ

ทนายความคดีออนไลน์

เลือกทนายความที่คุณต้องการปรึกษาและให้เป็นทนายความในคดีของคุณ 

[คดีซื้อขายออนไลน์ คดีจัดการมรดก คดีกู้ยืมเงิน คดีคุ้มครองผู้บริโภค คดีมโนสาเร่ คดีไม่มีข้อยุ่งยาก หรือการไต่สวนคำร้องในคดีแพ่ง เช่น คำร้องขอสวมสิทธิเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา คำร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ คำร้องขอรับชำระหนี้จำนอง ซึ่งสามารถใช้ระบบพิจารณาคดีแบบออนไลน์ ทางแอปพลิเคชัน Google Meet, Cisco Webex, Zoom]

ฝากข้อความเพื่อให้ทนายความตอบคำถามหรือติดต่อกลับ

สถิติข้อหาสูงสุด 10 อันดับ ที่ขึ้นสู่การพิจารณาของศาลชั้นต้นทั่วประเทศประจำปี พ.ศ. 2566

อันดับ 1 ประมวลกฎหมายยาเสพติด จำนวน 307,114 ข้อหา
อันดับ 2 บัตรเครดิต จำนวน 216,322 ข้อหา
อันดับ 3 กู้ยืม จำนวน 215,287 ข้อหา
อันดับ 4 สินเชื่อบุคคล จำนวน 175,681 ข้อหา
อันดับ 5 พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 จำนวน 127,752 ข้อหา
อันดับ 6 ขอจัดการมรดก จำนวน 119,825 ข้อหา
อันดับ 7 เช่าซื้อรถยนต์ จำนวน 98,649 ข้อหา
อันดับ 8 ค้ำประกัน จำนวน 72,573 ข้อหา
อันดับ 9 ละเมิด จำนวน 37,957 ข้อหา
อันดับ 10 พ.ร.บ.อาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน ฯ พ.ศ.2490 จำนวน 29,844 ข้อหา

Visitors: 57,717